Book

In Amsterdam with
Chavalit Soemprungsuk

(EN/TH)

Type: Book/ E-book

Publisher: Office of Contemporary Art and Culture (OCAC)

Design: art4d/ Corporation 4d Limited

Pages: 324

Publication: 2013

Chavalit Soemprungsuk, the late National Artist, is well known for his abstract and non-objective work. He spent nearly 50 years living and working in the Netherlands. His artworks are outstanding, not limited to large paintings, sculptures, digital inkjet prints, and artwork created in many mediums, including designs. Soemprungsuk is widely recognized both within the country and abroad.

“In Amsterdam with Chavait Soemprungsuk,” a book published in conjunction with the exhibition of the same name by the Office of Contemporary Art and Culture, Ministry of culture, takes the readers on a journey from Bangkok to Amsterdam to join in a discussion on various topics between Soemprungsuk and Wit Pimkanchanapong, the exhibition manager – including the story about life, relationships, attitudes towards art and his artwork. Before returning with the transfer of Soemprungsuk’s studio from Amsterdam to the exhibition space of the Ratchadamnoen Contemporary Art Center.

ชวลิต เสริมปรุงสุข เป็นศิลปินแห่งชาติซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะศิลปินจิตรกรรมนามธรรม และ non-objective art ซึ่งใช้ชีวิตและทำงานศิลปะที่ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นระยะเวลากว่า 50 ปี ผลงานของเขามีความโดดเด่น และไม่ได้จำกัดอยู่เพียงประเภทจิตรกรรมขนาดใหญ่ ประติมากรรม และภาพพิมพ์อิงค์เจ็ทดิจิทัลเท่านั้น เขายังสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมาย รวมถึงงานออกแบบ ด้วยศักยภาพที่หลากหลายทำให้เขาเป็นที่ยอมรับในวงกว้างทั้งจากภายในประเทศและต่างประเทศ

“In Amsterdam with Chavait Soemprungsuk” เป็นหนังสือที่จัดพิมพ์ขึ้นเนื่องในการจัดแสดงนิทรรศการในชื่อเดียวกัน โดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม พาเราออกเดินทางจากกรุงเทพมหานครไปยังอัมสเตอร์ดัมเพื่อร่วมพูดคุยกับศิลปินในหลากหลายประเด็น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวการใช้ชีวิต ความสัมพันธ์ ทัศนคติต่อศิลปะ และการทำงานศิลปะของเขา กับ วิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์ ผู้จัดการนิทรรศการ ก่อนเดินทางกลับพร้อมการเคลื่อนย้ายสตูดิโอของชวลิตจากอัมสเตอร์ดัม สู่พื้นที่จัดแสดงหอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน